...ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์ โรงเรียนพิศาลปุณณวิทยา องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น มีวินัย ใส่ใจ สิ่งแวดล้อม....

 

การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการใช้ผังกราฟิก เรื่องสารและสมบัติของสารเพื่อส่งเสริมความสามารถในการ
คิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1
The Development of Inquiry Method with Graphic Organizers learning on the topic of Substance and Substance’s property
to promote analytical thinking abilities of Mathayomsuksa 1 students.

สายยนต์  สิงหศรี
Saiyont  Singhasri1

บทคัดย่อ
            การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและความต้องการในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับ
การใช้ผังกราฟิกเรื่องสารและสมบัติของสารเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 2) พัฒนาและหาประสิทธ
ิภาพของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการใช้ผังกราฟิกเรื่องสารและสมบัติของสารเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1ตามเกณฑ์80/80 3) ทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการใช้ผังกราฟิกเรื่องสารและ
สมบัติของสารเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่14)ประเมินและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการใช้ผังกราฟิกเรื่องสารและสมบัต
ิของสารเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1กลุ่มเป้าหมาย คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนพิศาลปุณณวิทยา ตำบลบ้านหว้า อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น จำนวน 22 คน โดยวิธีเลือกกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจง (Purposive sampling) แบบแผนการวิจัย คือแบบการวิจัยและพัฒนา (The Research and Development) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการใช้ผังกราฟิกเรื่องสารและสมบัติของสารเพื่อส่งเสริมความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1จำนวน 18 แผนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ แบบวัดความสามารถในการคิด วิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน หาประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้ จากสูตร E1 /E2 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย () และหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test Dependent) ผลการศึกษา พบว่า 1) ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญ ครู และนักเรียนพบว่า นักเรียนมีความต้องการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการใช้ผังกราฟิกเรื่องสารและสมบัติของสารใน ระดับมาก 2) การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการใช้ผังกราฟิกเรื่องสารและสมบัติของสารที่สร้างขึ้น ประกอบด้วย แผนการจัดเรียนเรียนรู้ จำนวน 18 แผน จำนวน 18 ชั่วโมง เท่ากับ 81.48 / 81.17 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้ 3) ผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ หาความรู้ร่วมกับการ ใช้ผังกราฟิก เรื่องสารและสมบัติของ สารพบว่าการจัดการเรียนรู้เป็น ไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ นักเรียนให้ความสนใจ กระตือรือร้นต่อ การจัดการเรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรมได้ตามที่กำหนด 3.1) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียน รู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการใช้ผังกราฟิกเรื่อง สารและสมบัติของสารเพื่อ ส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.053 2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ หาความรู้ร่วมกับการใช้ผังกราฟิกเรื่องสารและสมบัติของสารหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 4) ผลการประเมินและปรับปรุงแก้ไข การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการใช้ผังกราฟิกเรื่องสารและสมบัติของสาร เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1พบว่านักเรียนมีความพอใจการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการใช้ผังกราฟิกในระดับ มากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.57 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ0.53
           
คำสำคัญ  :สืบเสาะหาความรู้,การใช้ผังกราฟิก,การคิดวิเคราะห์
Abstract
              The objectives of the study were to 1) to study the fundamental data and the need 2) to develop Inquiry Method With Graphic Organizers learning to meet the efficient criteria of 80/803) to implement Inquiry Method With Graphic Organizers learning 4)to evaluate and improve Inquiry Method With Graphic Organizers learning. The subjects consisted of 22 Mathayomsuksa1 students of Pisanpunnawittaya school during the first semester of the academic year 2019 by purposive sampling. The instruments used for gathering data were; 1) 18 lesson plans through Inquiry Method With Graphic Organizers 2) achievement test 3) analytical thinking test 4) assessment form used for measuring students ‘satisfaction Data analysis was through percentage, mean, standard deviation and t-test. The results of the study were as follows:1. the fundamental data from expert, teachers and students found that students’ need was at high level. 2. The average efficiency score of learning constructed was 81.48; whereas, that of the posttest was 81.17percent. The students’ science achievement and analytical thinking after studying this model was significantly higher than that before studying this model at 0.05 level.4. The students’ satisfaction toward the model was highly positive          (=4.57, S.D.=0.53)
             

Keywords  :  Inquiry Method,Graphic Organizers, Analytical Thinking


 

กลับสู่ด้านบน